บทความ

ความแตกต่างของจำนวนสปอร์ที่ใช้ในการทดสอบ

รูปภาพ
Q: ความแตกต่างของจำนวนสปอร์ที่ใช้ในการทดสอบ การทำให้ปราศจากเชื้อ A: สำหรับจำนวนสปอร์ที่มาตรฐานกำหนดเป็นตามนี้เลยครับ   BI requirement population The manufacturer must state the viable population on the BI; this number is then considered the listed population. According to the various ISO standards (11138 series) and USP monographs the populations for the various BIs must be as follows: ISO (11138 series) population requirements: EO (Ethylene oxide): ≥ 1.0 x 10 6 (11138-2 9.3) Moist heat: ≥ 1.0 x 10 5 (11138-3 9.3) Dry heat: ≥ 1.0 x 10 6 (11138-4 9.3) Low temp steam & formaldehyde: ≥ 1.0 x 10 5 (11138-5 9.3) USP monographs population requirements: Paper Carrier BIs used for EO, Steam, or Dry Heat: > 1.0 x 10 4 and < 1.0 x 10 9 Liquid Spore Suspension used for Moist heat, Dry heat, & Gaseous modes of sterilization: > 1.0 x 10 3 and < 1.0 x 10 9 Non-paper carriers used for Moist heat, Dry heat, & Gaseous modes of ste

PPE Personal Protective Equipment

รูปภาพ
Personal Protective Equipment อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล PPE 1 PPE2 PPE3

โรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย

รูปภาพ
โรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย เป็นโรงพยาบาลที่จัดตั้งโดยเอกชน มีทั้งที่เป็นบริษัทจำกัด และบริษัทมหาชนจำกัดด้วย โรงพยาบาลเอกชนบางแห่งเป็นโรงพยาบาลเฉพาะด้าน เช่น โรงพยาบาลทางด้านโรคตา โรงพยาบาลทันตกรรม เป็นต้น บางแห่งก็มีมากกว่าหนึ่งแห่งในกลุ่มบริษัทเดียวกัน ตัวอย่างของโรงพยาบาลเอกชน มีดังนี้ โรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โรงพยาบาลยันฮี โรงพยาบาลเวชธานี โรงพยาบาลปิยะเวท โรงพยาบาลหัวเฉียว โรงพยาบาลแม่น้ำ โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ โรงพยาบาลรามคำแหง โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ โรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล โรงพยาบาลวิภาวดี โรงพยาบาลบางกอกแอดเวนติสต์มิชชั่น โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน โรงพยาบาลวิชัยยุทธ โรงพยาบาลบางมด โรงพยาบาลศรีนครินทร์ โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ โรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลธนบุรี โรงพยาบาลนนทเวช โรงพยาบาลกล้วยน้ำไท โรงพยาบาลสุขุมวิท โรงพยาบาลภัทร-ธนบุรี โรงพยาบาลบางนา1 โรงพยาบาลวิภา-ราม โรงพยาบาลบางนา2 โรงพยาบาลบางนา5 โรงพยาบาลสินแพทย์ โรงพยาบาลจุฬารัตน์ โรงพยาบาลพร้อมมิตร โรงพยาบาลพ

โรงพยาบาลรัฐบาลในประเทศไทย

รูปภาพ
โรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลส่วนใหญ่ในประเทศไทยเป็นโรงพยาบาลรัฐบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยโรงพยาบาลในส่วนภูมิภาคจะขึ้นตรงกับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นโรงพยาบาลประจำจังหวัดหรืออำเภอต่างๆ มีหลากหลายระดับตามขีดความสามารถ แต่สำหรับโรงพยาบาลในส่วนกลาง (กรุงเทพมหานคร) จะขึ้นตรงกับกรมการแพทย์ เช่น โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี โรงพยาบาลสงฆ์ เป็นต้น สำหรับโรงพยาบาลเฉพาะทางอื่นๆ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งในส่วนกลาง และในส่วนภูมิภาคจะขึ้นตรงกับกรมการแพทย์ทั้งหมด เช่น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ สถาบันโรคทรวงอก สถาบันประสาทวิทยา สถาบันโรคผิวหนัง สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี เป็นต้น ยกเว้นโรงพยาบาลเฉพาะทางที่ดูแลรักษาผู้ป่วยทางด้านจิตเวชจะขึ้นตรงกับกรมสุขภาพจิต เช่น สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา โรงพยาบาลศรีธัญญา สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ สถาบันราชานุกูล เป็นต้น นอกเหนือจากโรงพยาบาลรัฐบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขแล้ว ในประเทศไทยยังมีโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลสังกัดหน่วยงานอื่นๆ เช่น สภากาชาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงศึกษาธิการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้ง

ตัวชี้วัดทางเคมี (Chemical Indicators)

รูปภาพ
ความเป็นมาและวิวัฒนาการของ  ตัวชี้วัดทางเคมี  (Chemical Indicators) แปลและเรียบเรียงโดย สุวิทย์  แว่นเกตุ ถ้าจะเปรียบเทียบให้ง่ายเข้า อยากให้นึกถึงอาหารที่เรารับประทานกันทุกวันนั้นจะอร่อยและปลอดภัยต่อการบริโภคขึ้นอยู่กับปัจจัย ทั้งสถานที่เตรียม อุปกรณ์ที่ใช้ สูตรที่ใช้ในการปรุงอาหาร เชฟหรือพ่อครัว วัตถุดิบในการประกอบอาหาร การจัดเก็บและการจัดเสริฟโดยบริกร รวมทั้งมาตรฐานในการดูแลในการประกอบอาหารต่างๆ ลองคิดภาพดูสิครับ ต่อให้เชฟหรือพ่อครัวปรุงกันอย่างสุดฝีมือ ใส่วัตถุดิบชั้นเยี่ยม แต่ถ้าบริกรที่ยกอาหารมาเสริฟนั้นจุ่มนิ้วมือที่มีเล็บยาวๆ ดำๆ ลงไปในอาหารอย่างชัดเจน ท่านจะกล้าทานอาหารจานนั้นหรือไม่ คำตอบคงไม่กล้าทานหรือไม่แม้แต่จะชิม เช่นเดียวกันกับการทำให้ปราศจากเชื้อ ที่ต้องมีปัจจัยนำเข้าที่ดี เช่น มีแผนผังในการจัดแบ่งพื้นที่เป็นสัดส่วน ครุภัณฑ์ที่ใช้ในการทำให้ปราศจากเชื้อที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ บุคคลากรต้องมีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานที่เพียงพอ มีการจัดทำนโยบายและวิธีปฏิบัติที่ได้มาตรฐานและถูกต้องตามหลักวิชาการที่เหมาะสม เป็นปัจจุบัน รวมทั้งต้องมีการควบคุมคุณภาพของกระบวนก

การทำให้ปราศจากเชื้อด้วยความร้อนแห้ง Sterilization by dry heat

รูปภาพ
การทำให้ปราศจากเชื้อด้วยความร้อนแห้ง เป็นวิธีการที่ใช้ในการทำให้อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ที่ไม่สามารถทำให้ปราศจากเชื้อด้วยการอบไอน้ำ หรือด้วยการอบแก๊ส Ethylene Oxide ได้ปราศจากเชื้อ โดยการทำลายเชื้อจุลชีพทุกชนิด ทุกรูปแบบรวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย ความร้อนแห้งไม่ทำให้อุปกรณ์บางประเภท เช่น เครื่องแก้ว และเครื่องมือมีคมเสื่อมสภาพ ความร้อนแห้งสามารถแทรกซึมผ่านสารบางชนิดซึ่งไอน้ำและแก๊สไม่สามารถแทรกซึมผ่านได้ วิธีการทำให้ปราศจากเชื้อด้วยความร้อนแห้ง ได้แก่ การอบความร้อน (Hot air) การใช้รังสีอินฟราเรด (infrared radiation) การใช้ไมโครเวฟ (microwave radiation) และการเผา (incineration) การทำให้ปราศจากเชื้อด้วยการอบความร้อน (Hot air) การทำให้ปราศจากเชื้อด้วยวิธีนี้ความร้อนจะค่อยๆ แทรกซึมสู่อุปกรณ์อย่างช้าๆ ทำให้ต้องใช้ระยะเวลานาน การอบความร้อนเหมาะสำหรับอุปกรณ์ที่มีลักษณะแหลม มีคม เข็มและกระบอกฉีดยา วุ้นและแป้ง ความร้อนแห้งไม่ทำให้อุปกรณ์เป็นสนิม ไม่มีผลเสียต่ออุปกรณ์ที่มีคม การอบความร้อนเป็นวิธีการทำให้ปราศจากเชื้อที่ใช้อุณหภูมิสูงและใช้ระยะเวลายาวนาน เครื่องอบความร้อนที่ใช้ในโรง

หม้อนึ่งไอน้ำภายใต้ความดันPortable Steam Sterilizer

รูปภาพ
หม้อนึ่งไอน้ำภายใต้ความดัน เป็นเครื่องนึ่งไอน้ำชนิดแทนที่อากาศขนาดเล็ก สามารถเคลื่อนย้ายได้ มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ Steam Sterilizer System -หม้อนึ่ง  ประกอบด้วยตัวหม้อนึ่งด้านนอกและฝาครอบซึ่งทำด้วยเหล็กกล้าอย่างดี ทนต่อความดันและความร้อนได้เป็นอย่างดี รอบๆ ตัวหม้อด้านบนจะมีล๊อค ระหว่างตัวหม้อและฝาครอบ 6 ตัว เพื่อทำให้ฝาหม้อปิดสนิทและรักษาความดันภายในหม้อไว้ในขณะนึ่งด้วยไอน้ำ -หม้อนึ่งชั้นใน เป็นถังรูปทรงกระบอกทำจากอลูมินั่ม มีขนาดเล็กกว่าตัวหม้อด้านนอก ใช้สำหรับใส่อุปกรณ์เพื่อทำให้ปราศจากเชื้อ โดยขณะใช้จะวางหม้อไว้ในหม้อนึ่ง ด้านในจะมีท่อสำหรับใส่ท่อระบายอากาศจากก้นหม้อ -ตะแกรง  ทำจากสแตนเลส ใช้สำหรับจัดเรียงอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อทำให้เกิดช่องว่างบริเวณก้นหม้อทำให้ไอน้ำกระจายและไหลเวียนได้ทั่วถึง -ท่อระบาย / ดูดอากาศ เป็นท่อเชื่อมต่อจากฝาครอบของหม้อนึ่งไปยังก้นหม้อ โดยใส่ผ่านท่อด้านข้างของหม้อนึ่งชั้นในเพื่อระบายอากาศจากก้นหม้อขึ้นไปและออกทางฝาครอบ -มาตรวัดความดันและอุณหภูมิ อยู่บนฝาครอบด้านบนของหม้อนึ่ง -ปุ่มควบคุมความดัน ตรงปลายเปิดของท่อระบายอากาศที่ฝาครอบด้านบนของห

◉ ดูข้อมูลเพิ่มเติม (READ MORE) >>

แสดงเพิ่มเติม