บทความ

◉ โพสต์ ล่าสุด New Post

การคำนวณ Carbon Footprint จากเครื่องอบฆ่าเชื้อด้วยแก๊สเอทธิลีนออกไซด์ (Ethylene Oxide Sterilizer) (#9)

รูปภาพ
การคำนวณ Carbon Footprint จากเครื่องอบฆ่าเชื้อด้วยแก๊สเอทธิลีนออกไซด์ (Ethylene Oxide Sterilizer) แสดงวิธีการคำนวณ Carbon Footprint จากเครื่องอบฆ่าเชื้อด้วยแก๊สเอทธิลีนออกไซด์ (EtO) ขนาด 150 ลิตร ที่มีรอบการทำงาน 11-12 ชั่วโมงต่อรอบ ในหน่วยงาน CSSD ของโรงพยาบาล การคำนวณครอบคลุม Scope 1 (การปล่อยโดยตรงจาก EtO) และ Scope 2 (การปล่อยทางอ้อมจากไฟฟ้า) โดยใช้สมมติฐานจากข้อมูลทั่วไป ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณ 1. ขนาดเครื่อง: 150 ลิตร 2. รอบการทำงาน: 11-12 ชั่วโมงต่อรอบ (ใช้ค่าเฉลี่ย 11.5 ชั่วโมง) 3. การใช้พลังงานไฟฟ้า:   สมมติฐาน: เครื่องใช้พลังงานไฟฟ้า 5 kW (อ้างอิงจากเครื่องขนาดใกล้เคียง)   การใช้ไฟฟ้าต่อรอบ: 5 kW × 11.5 ชั่วโมง = 57.5 kWh 4. การใช้แก๊ส EtO:   สมมติฐาน: ใช้ EtO 100 กรัมต่อรอบ (อ้างอิงจากเครื่องขนาดเล็กทั่วไป)   การรั่วไหลของ EtO: สมมติ 1% ของ EtO ที่ใช้ (1 กรัมต่อรอบ) ปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม 5. Emission Factor:   ไฟฟ้า (ประเทศไทย): 0.563 kg CO₂e/kWh (จาก TGO, 2023)   EtO: 0.2 kg CO₂e/kg (ประมาณการจากศักยภาพการทำให้เกิดภาวะโลกร้อนของ EtO) ขั้นตอนการคำนวณ...

การจัดการ ระบบอากาศ ภายในสถานพยาบาล

รูปภาพ
คู่มือ มาตรฐานการจัดการ ระบบระบายอากาศ ในโรงพยาบาล มาตรฐานการจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม ในโรงพยาบาล ปัจจุบันระดับของการปนเปื้อน ของการติดเชื้อในอากาศเพิ่มขึ้นอย่างมาก และส่งผลให้มีการติดเชื้อเพิ่มขึ้นมากตามไปด้วย ความสำคัญของระบบการกรองอากาศไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่ภายในโรงพยาบาลแต่สถานพยาบาลอื่นๆ เช่น ศูนย์ทันตกรรม และคลีนิครักษาโรคก็ต้องการการกรองอากาศอย่างมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน มีข้อมูล คำแนะนำ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับ มาตรฐานการจัดการ ระบบระบายอากาศ ในโรงพยาบาล และ มาตรฐานการจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม ในโรงพยาบาล มาตรฐานการจัดการ ระบบระบายอากาศ ในโรงพยาบาล มาตรฐานการจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม ในโรงพยาบาล

Sterilizers ฆ่าเชื้อได้อย่างไร ?

รูปภาพ
อะไร…ที่สามารถทำให้เชื้อโรคตาย.? แล้ว เครื่องแต่ละระบบ…ต่างกันอย่างไร.? และ มันเป็นอันตรายต่อมนุษย์…แค่ไหน.? Sterilizers:เครื่องอบฆ่าเชื้อ Sterilizer หนึ่งในสิ่งประดิษฐ์ ที่ทำให้มนุษย์อยู่รอดปลอดภัย จากการติดเชื้อ ที่ถูกนำมาใช้ในโรงพยาบาล หรือ ภาไทยที่เรารู้จักและคุ้นเคย ก็คือ เครื่องอบฆ่าเชื้อ เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อ หรือ หม้อนึ่งฆ่าเชื้อ คุณสมบัติอย่างหนึ่งของ Sterilizer ที่เรานำมาใช้ประโยชน์ ก็คือ ความสามารถในการฆ่าสปอร์ของเชื้อโรค ที่มีความทนทานมากที่สุด นี่คือประโยชน์ของ Sterilizer โดยตรง ไม่ว่าจะเป็นแบบไหน รุ่นไหนก็ตาม ความกังขาในความสามารถในการฆ่าเชื้อที่ตามมาก็คือ…มันฆ่าสปอร์ของเชื้อโรคให้ตายได้แค่ไหน และ อย่างไร? อะไรล่ะ…ที่สามารถทำให้เชื้อโรคตาย.? การที่จะสามารถฆ่าสปอร์เชื้อโรคที่มีความทนทานสูงสุดให้หมดลงได้ จะต้องใช้ค่ากำหนด ทั้ง อุณหภูมิ ความดัน ความชื้นสัมพัทธ์ ความเข้มข้นของแก๊ส และ เวลา ตามมาตรฐานสากลที่ยอมรับกัน เราเรียก ค่าที่กำหนดเหล่านี้ ว่า Sterilization Critical factors คือ         1.   อุณหภูมิ (Temperature) 2. ค่า...

3 สิ่งที่ต้องรู้ ในการทำให้อุปกรณ์การแพทย์ ปราศจากเชื้อโรค

รูปภาพ
เชื้อโรคเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วย แล้วเชื้อโรคอยู่ที่ไหนบ้าง? ผู้ปฎิบัติงานอยู่ในหน่วยจ่ายกลาง จะมีวิธีการกำจัดเชื้อโรคอย่างไร? จึงจะทำให้อุปกรณ์การแพทย์ที่ปนเปื้อน ปราศจากเชื้อโรค อย่างแท้จริง! การทำให้ปราศจากเชื้อ อุปกรณ์การแพทย์ 3 สิ่งที่ต้องรู้ ในการทำให้อุปกรณ์การแพทย์ ปราศจากเชื้อโรค มีดังนี้. 1. การเกิดปนเปื้อนเชื้อโรค บนอุปกรณ์การแพทย์ โรงพยาบาลได้ชื่อว่าเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค หรือ เป็นรัง ที่อยู่อาศัยเจริญเติบโตของเชื้อโรค การปนเปื้อนของเชื้อโรคบนอุปกรณ์การแพทย์ อาจมาจากสิ่งแวดล้อม หรือ ตัวผู้ป่วยเอง ที่มีเชื้อโรคอยู่ โดยตัวเจ้าหน้าที่เอง ที่เป็นผู้แพร่เชื้อ ไปยังอุปกรณ์การแพทย์ ที่จะนำไปใช้กับผู้ป่วย ที่อาจจะมาจากการหยิบจับ เชื้อเหล่านี้มาจาก      +ตัวผู้ป่วยเอง      +สิ่งแวดล้อม อุปกรณ์การแพทย์ เครื่องมือเครื่องใช้ ในโรงพยาบาล      +เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเอง เป็นผู้แพร่กระจายเชื้อออกไป 2. ผู้ปฎิบัติงาน จะมีวิธีการในการ กำจัดเชื้อโรคอย่างไร? ต้องรู้จักเชื้อโรคก่อนว่า เชื้อโรคแต่ละชนิด มีความทนทานต่อ...

ทำไม BI ไม่ใช่คำตอบสุดท้าย ในการทำให้ปราศจากเชื้อ

รูปภาพ
ผลของการทำสปอร์เทสต์ บอกเพียงว่า เครื่องมีประสิทธิภาพ เพียงพอที่จะฆ่าเชื้อให้ตายได้  ตามเงื่อนไข  Sterilization Critical Parameter  ที่กำหนด   แล้วจะ...“เกิดอะไรขึ้น ถ้า ไอน้ำ หรือ แก๊ส ไม่สามารถเข้าไปสัมผัส ภายใน ซอง ห่อ หรือ กล่องเครื่องมือได้…?” คำถามนี้น่าสนใจ! ทำไมน่ะหรือ ก็เพราะว่า… “เราไม่ได้ใส่ หลอด BI เข้าไปใน ทุกห่อ ทุกซอง น่ะสิ” ต้นเหตุของความผิดพลาด เกิดจาก การขาดความรู้ ขาดการตระหนัก  ตั้งแต่เริ่มมีการนำ BI: Biological Indicators หรือ หลอดทดสอบทางชีวภาพ มาใช้ในการทดสอบการทำให้ปราศจากเชื้อ เราก็คิดว่าผลของการทำสปอร์เทสต์ คือคำตอบสุดท้ายที่เรา ใช้เป็นหลักประกันว่า อุปกรณ์ที่ผ่านการอบฆ่าเชื้อรอบนั้นๆ สมบูรณ์… “แท้จริงแล้วเป็นเช่นนั้นหรือไม่ ?...” เราเคยตั้งคำถามแบบนี้กับตัวเองบ้างมั้ย การนำ BI: Biological Indicators หรือ หลอดทดสอบทางชีวภาพ ไปใช้ด้วยความมั่นใจอย่างสูง นำไปสู่การปฎิบัติที่ผิด นี่คือมุมมืดของ ความมั่นใจในผลของการทำสปอร์เทสต์ เราให้ความสนใจ ใส่ใจในกระบวนการต่างๆ ก่อนอบฆ่าเชื้อน้อยลง เราฝากความหวังไว้กับ ผลของการทำสปอร์เทสต...

◉ ดูข้อมูลเพิ่มเติม ตามหมวดหมู่เนื้อหา >>

แสดงเพิ่มเติม